เว็บไซต์สำหรับเก็บผลงานประเมิน PA
นางสาวกานต์พิชชา ทองคำ
ตำแหน่ง ครู
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนบดินทรเดชา(สิงห์ สิงหเสนี)๒
ปีการศึกษา 2567
เว็บไซต์สำหรับเก็บผลงานประเมิน PA
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566
1.1 ชั่วโมงสอนตามตารางสอน รวมจำนวน 18 ชั่วโมง /สัปดาห์ดังนี้
กลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชา วิทยาศาสตร์ ม.1 จำนวน 9 ชั่วโมง/สัปดาห์
กลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชา วิทยาศาสตร์กายภาพ ม.5 จำนวน 3 ชั่วโมง/สัปดาห์
กลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชา วิทยาศาสตร์เข้มข้น ม.6 จำนวน 6 ชั่วโมง/สัปดาห์
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
- กิจกรรมชุมนุม จำนวน 50 นาที/สัปดาห์
- กิจกรรมลูกเสือ จำนวน 50 นาที/สัปดาห์
1.2 งานส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ จำนวน 4 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.3 งานพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา จำนวน 10 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.4 งานตอบสนองนโยบายและจุดเน้น จำนวน 2 ชั่วโมง /สัปดาห์
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน
เพื่อเลื่อนเงินเดือน
ครั้งที่ 1/67 ครั้งที่ 2/67
ไฟล์ข้อตกลง PA
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2567
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน
เพื่อเลื่อนเงินเดือน
1.1 ชั่วโมงสอนตามตารางสอน รวมจำนวน 18 ชั่วโมง /สัปดาห์ดังนี้
กลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชา วิทยาศาสตร์ ม.2 จำนวน 9 ชั่วโมง/สัปดาห์
กลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชา ออกแบบเทคโนโลยี ม.2 จำนวน 3 ชั่วโมง/สัปดาห์
กลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชา วิทยาศาสตร์เข้มข้น ม.6 จำนวน 4 ชั่วโมง/สัปดาห์
กลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชา Science ม.2 จำนวน 2 ชั่วโมง/สัปดาห์
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
- กิจกรรมชุมนุม จำนวน 50 นาที/สัปดาห์
- กิจกรรมลูกเสือ จำนวน 50 นาที/สัปดาห์
1.2 งานส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ จำนวน 4 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.3 งานพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา จำนวน 10 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.4 งานตอบสนองนโยบายและจุดเน้น จำนวน 2 ชั่วโมง /สัปดาห์
ครั้งที่ 1/67 ครั้งที่ 2/67
ไฟล์ข้อตกลง PA
ร้อยละ 70 ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
ที่เรียนในรายวิชาวิทยาศาสตร์ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง ระบบหายใจสูงขึ้น โดยเปรียบเทียบจากแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน
เป้าหมายคุณภาพ
ผลการวิเคราะห์ข้อมูลจากใบกิจกรรมเรื่อง แบบจำลองปอด พบว่า นักเรียนสามารถสร้างแบบจำลองและอธิบายกลไกการหายใจเข้าและออก โดยใช้แบบจําลองได้ อยู่ในเกณฑ์ดี
คิดเป็นร้อยละ 70 การประเมินภาพรวมของทั้งชั้นเรียน ถือว่าผ่านเกณฑ์ที่กำหนด และสามารถนำความรู้ที่ได้เรียนไปต่อยอดเพื่อใช้ในชีวิตประจำวัน และระดับการศึกษาที่สูงขึ้น
ประเด็นท้าทายเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่อง ระบบหายใจ ของนักเรียนชันมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้น (5Es) ที่ใช้แบบจำลองเป็นฐาน (Model-based learning)
เป้าหมายเชิงปริมาณ
วิเคราะห์หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 สาระ มาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วัดหรือผลการเรียนรู้ เพื่อจัดทำคำอธิบายรายวิชา ออกแบบหน่วยการเรียนรู้โดยครอบคลุมเนื้อหาของหลักสูตร
โดยดำเนินการจัดทำหลักสูตรรายวิชา เพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนาสมรรถนะและการเรียนรู้เต็มศักยภาพ โดยมีการปรับประยุกต์ให้สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษาและผู้เรียน ตามภาระงานสอนที่ได้รับมอบหมาย และสามารถแก้ไขปัญหาในการจัดการเรียนรู้ได้
ปีการศึกษา 2567
เน้นจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบเชิงรุก (Active Learning) ที่เน้นวิธีการปฏิบัติและมีความหลากหลาย สอดคล้องกับสาระ มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดและจุดประสงค์การเรียนรู้ในแผนการจัดการเรียนรู้
จัดทำคำอธิบายรายวิชา และจัดทำโครงสร้างรายวิชามีกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญด้วยวิธีการปฏิบัติที่สอดคล้องกับธรรมชาติของสาระการเรียนรู้และสามารถ
นำไปปฏิบัติจริง
กดปุ่มหัวข้อ
สำหรับ
เอกสารประกอบ
ปีการศึกษา
2567
ส่งเสริมผู้เรียนได้พัฒนาเต็มตามศักยภาพ เรียนรู้และทำงานร่วมกันโดยมีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ที่สามารถแก้ไขปัญหาในการจัดการเรียนรู้ ทำให้ผู้เรียนมีกระบวนการคิดและค้นพบองค์ความรู้ด้วยตนเอง และสร้างแรงบันดาลใจ มีการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะ 5 ขั้น (5Es) เพื่อให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้โดยการลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง ผ่านกระบวนการคิดทางวิทยาศาสตร์ เพื่อให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาเต็มตามศักยภาพ บรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้
ภาพการจัดการเรียนรู้
ปีการศึกษา
2567
สร้างและพัฒนาสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยีและแหล่งเรียนรู้สอดคล้องกับกิจกรรม
การเรียนรู้ผู้เรียนมีกิจกรรมการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับสื่อ นวัตกรรม ดำเนินการสร้างและพัฒนาสื่อการเรียนการสอนโดยใช้โปรแกรมสร้างงานนำเสนอข้อมูล (Microsoft PowerPoint) และสื่อการสอนออนไลน์อย่าง Liveworksheets และ เกมส์ตอบคำถามออนไลน์ เช่น vonder, kahoot เพื่อใช้ประกอบการอธิบายเนื้อหาในการจัดการเรียนรู้
มีการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ด้วยวิธีการที่หลากหลายครอบคลุมทั้งด้านพุทธิพิสัยหรือด้านความรู้ (K) , ด้านทักษะพิสัยหรือด้านทักษะ (P) และด้านเจตพิสัยหรือด้านเจตคติ (A) และสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ ให้ผู้เรียนพัฒนาการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ประเมินผลการเรียนรู้ตามสภาพจริง และนำผลการวัดและประเมินผลการเรียนรู้มาใช้แก้ไขปัญหาการจัดการเรียนรู้
ปีการศึกษา
2565
เกณฑ์การวัดและประเมินผล
ปีการศึกษา
2567
การใช้ผังความก้าวหน้า
ในการบันทึกคะแนนการเรียนรู้
มีดำเนินการจัดสภาพแวดล้อม บรรยากาศในชั้นเรียนที่ส่งเสริมและเอื้อต่อการเรียนรู้ กระตุ้นความสนใจใฝ่รู้ ใฝ่ศึกษา อบรมบ่มนิสัย เพื่อให้เกิดกระบวนการคิด ทักษะชีวิต ทักษะการทำงาน ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม ทักษะด้านสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี มีการมอบหมายงานเดี่ยว งานคู่ และกระบวนการทำงานเป็นกลุ่ม เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดทักษะและกระบวนการคิด ในการเรียนรู้อย่างสูงสุด
บรรยากาศการใช้สื่อ
ในการจัดการเรียนรู้
2.1 จัดทำข้อมูลสารสนเทศของผู้เรียนและรายวิชา
มีการจัดทำข้อมูลสารสนเทศของผู้เรียนและรายวิชา เพื่อใช้ในการ
ส่งเสริมสนับสนุนการเรียนรู้และพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
ข้อมูล SDQ นักเรียน
ข้อมูลการสำรวจแววความสามารถพิเศษด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์
2.2 ดำเนินการตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
มีการใช้ข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับผู้เรียนรายบุคคลและประสาน
ความร่วมมือกับผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง เพื่อพัฒนาและแก้ปัญหาผู้เรียน
แบบบันทึกเยี่ยมบ้าน 1/2567
2.3 ปฏิบัติงานวิชาการและงานอื่น ๆ ของสถานศึกษา
ร่วมปฏิบัติงานทางวิชาการ และงานอื่น ๆ ของสถานศึกษาเพื่อยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
คลิกเพื่อดูเอกสารประกอบ
2.4 ประสานความร่วมมือ
ผู้ปกครอง ภาคีเครือข่ายและหรือสถานประกอบการ
1) จัดประชุมผู้ปกครองชั้นเรียน ภาคเรียนละ 1 ครั้งเพื่อติดตามแก้ไขปัญหา
ช่วยเหลือนักเรียนอย่างต่อเนื่อง
2) มีการเยี่ยมบ้านนักเรียนทุกภาคเรียน เพื่อติดตามแก้ไขปัญหา ช่วยเหลือนักเรียนอย่างต่อเนื่อง
3.1 พัฒนาตนเอง
อย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง
พัฒนาตนเองอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง ร่วมปฏิบัติงานทางวิชาการ และงานอื่น ๆ ของสถานศึกษาเพื่อยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษารวมถึงการการอบรม สัมมนา ทั้งในรูปแบบ ONLINE และ ONSITE
การเข้าร่วมอบรมและพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง
3.2 มีส่วนร่วมในการ
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาชีพ
นำองค์ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
เพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้
การเข้าร่วมชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
ของกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี